Students

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้หลายโรงเรียนต้องเลื่อนเปิดเทอมภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จากวันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม จึงทำให้เด็กๆ ต้องใช้เวลาอยู่ที่บ้านนานขึ้น ขณะเดียวกันผู้ปกครองบางท่านก็ต้องทำงานจากที่บ้าน หรือ Work from home ฉะนั้น ผู้ปกครองส่วนใหญ่มักปล่อยให้เด็กๆ อยู่กับหน้าจอ หรือสื่อออนไลน์ อาทิ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต โดยใช้เป็นเครื่องมือรับมือลูกๆ เมื่อต้องอยู่ร่วมกัน จึงนำมาสู่การตั้งข้อสังเกตว่า แท้จริงแล้วเครื่องมือเหล่านี้เหมาะสมกับเด็กจริงหรือ และสามารถใช้เพื่อสร้างการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผลได้อย่างไร

เราอาจจะต้องยอมรับกันก่อนว่า ‘ความเครียด’ นั้นเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะไม่ว่าจะเป็นวัยไหน อายุเท่าไหร่ อาชีพอะไร เราต่างก็มีความเครียดในแบบฉบับของตัวเอง จะเครียดมากเครียดน้อย เครียดนานหรือเครียดสั้น ประเด็นก็จะแตกต่างกันในแต่ละบุคคล

เชื่อว่าคุณครูทุกคนคาดหวังให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมดังกล่าว รวมถึงพฤติกรรมอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน และหากพฤติกรรมดังกล่าวนี้ เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ จะเรียกว่า “วินัยเชิงบวก” การสร้างวินัยเชิงบวกให้เกิดขึ้นในห้องเรียนนั้น มีวิธีการที่จดจำได้ง่ายๆเลย ซึ่งก็คือ ‘ความสม่ำเสมอ’ ความสม่ำเสมอในที่นี้ ต้องมาจากคุณครูเพียงเท่านั้น และความสม่ำเสมอที่ว่านี้ คือ

เมื่อนึกถึงแผนสองสำหรับเปิดเทอมใหม่ การสอนออนไลน์ (Online Learning) อาจเป็นตัวเลือกหนึ่งของกลุ่มคน และพื้นที่ที่มีความพร้อมในการการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตอย่างง่ายดาย แต่ในกลุ่มของนักเรียนที่ยังขาดทั้งอุปกรณ์ขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต มือถือ และ สัญญาณอินเทอร์เน็ต เราจะทำอย่างไรให้เด็กๆ เหล่านี้ได้เรียนรู้ สู้วิกฤตไปพร้อมๆ กัน หากเปิดเทอมนี้เราก็ต้องอยู่กันห่างๆ อย่างห่วงๆ เพราะโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19

แวดวงการศึกษาเอง ก็เป็นอีกวงการหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 เมื่อเหล่านิสิต นักศึกษา ต้องพากัน ‘study from home’ เพื่อหลีกเลี่ยงการติดเชื้อ ตามประกาศที่รัฐบาลสั่งปิดไปเมื่อเดือนก่อน แต่ทุกคนสามารถเรียนออนไลน์ได้จริงเหรอ? ในเมื่อบ้านไม่ใช่ห้องเรียน และอินเทอร์เน็ตก็ยังไม่ใช่สิ่งที่ทุกคนเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน The MATTER ขอพาทุกคนมาร่วมกันทำความเข้าใจ ถึงปัญหาและผลกระทบของการเรียนทางไกล เมื่อโรคระบาดทำให้ห้องเรียน ต้องย้ายไปอยู่ในระบบออนไลน์แทน

ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและการเกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นมานั้นเป็นสิ่งที่ทำให้การดำเนินชีวิตของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อจำกัดด้านทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานทดแทน วิวัฒนาการด้านหุ่นยนต์ เทรนด์เศรษฐกิจ วิธีการติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลที่ได้มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานให้เร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังรวมถึงเรื่องของประชากรที่มีอายุเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย

ความจำของคุณเป็นเช่นไร? กระบวนการคิด ความรู้ความเข้าใจ (cognitive functions) ของคุณแข็งแกร่งเท่าที่คุณต้องการไหม? ถ้าคำตอบคือ ไม่.. แน่นอนว่าคุณจะต้องให้ความสนใจในเคล็ดลับการปรับปรุงหน่วยความจำอย่างแน่นอน ความสามารถในการจดจำข้อมูลได้ดีขึ้นเป็นไปได้อย่างแน่นอน แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่คุณอาจคิดเองหรือได้รับการบอกเล่า คุณเพียงแค่ต้องรู้วิธีการที่ถูกต้องเหมาะสมที่จะทำ (ซึ่งไม่ต้องกังวลเพราะคุณไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตที่สำคัญใดๆ) ดังนั้นถ้าต้องการจะทำให้ความจำดีขึ้น ทำได้อย่างไร? มาเริ่มลงมือทำกันโดยทันที เพื่อพัฒนาความจำของคุณอย่างมีนัยสำคัญด้วย 7 วิธี ดังนี้

คุณเอม-นภพัฒน์จักษ์ อัตตนนท์ เป็นหน้าที่หลายคนอาจจะคุ้นตากันดีในวงการสื่อโทรทัศน์บ้านเรา เอมเคยทำงานเป็นผู้สื่อข่าวภาคสนามของสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่ง ก่อนที่จะตัดสินใจไปเรียนต่อด้านการทำข่าวโดยตรงที่ประเทศอังกฤษ ณ มหาวิทยาลัย City, University of London ที่นั่นเอมได้ลงพื้นที่ทำข่าวจริงในสังคมยุโรป ได้ฝึกงานกับสำนักข่าวระดับบิ๊กทั้ง The Independent และ BBC ในช่วงเปลี่ยนผ่านระหว่างสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์

แป๋ม-ปรารี กิตติดำเกิง เป็นดีไซเนอร์ชาวไทยที่ได้รับเทียบเชิญจากบริษัทนวัตกรรมระดับโลกอย่าง Apple ให้เข้าทำงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ Apple Park ออฟฟิศแห่งใหม่ของบริษัท ที่คูเปอร์ติโน แคลิฟอร์เนีย ชวนฟังเส้นทางการเรียนของนักเรียนดีไซน์แบบปรารี กับการปรับตัวเข้ากับการเรียนดีไซน์แบบตะวันตก การทำงานในสหรัฐอเมริกา และบรรยากาศการทำงานในบริษัท Apple ที่ลึกลับอย่างกับอยู่ในซีไอเอ!

ในตำนานของชาวอินเดียนแดงเผ่าเชโรกีที่เลื่องลือมาช้านาน มีเรื่องหนึ่งเล่าถึงคุณปู่ชราผู้สอนหลานชายถึงการใช้ชีวิตเอาไว้ว่า ในตัวเราทุกคนมีหมาป่าอยู่ด้วยกันสองตัวซึ่งต่างฝ่ายต่างต่อสู้กันและกันอยู่ตลอดเวลา ตัวหนึ่งเป็นหมาป่าตัวร้าย ขี้ขลาด ทะนงตัว อวดดี และเพ้อเจ้อ กับอีกตัวหนึ่งเป็นหมาป่าที่กล้าหาญ มุมานะ พยายาม และเข้มแข็ง เด็กชายจึงเอ่ยถามปู่ด้วยความอยากรู้ว่าสุดท้ายแล้วตัวไหนเป็นฝ่ายชนะ

เว็บไซต์ Frontiers in Psychology – ฐานข้อมูลที่รวบรวมวารสารว่าด้วยจิตวิทยาทุกแขนงเอาไว้ด้วยกัน เผยแพร่ผลงานวิจัยจำนวนมากที่สนับสนุนแนวทางการสอนแบบใกล้ชิดธรรมชาติ ซึ่งไม่เพียงเป็นครั้งแรกของการรวบรวมหลักฐานที่สนับสนุนแนวทางการสอนดังกล่าวไว้ด้วยกันทั้งหมด แต่ยังแสดงให้เห็นว่าจำเป็นเพียงไร ที่โรงเรียนต้องตระหนักถึงความสำคัญอันใหญ่หลวงในการปลูกฝังเยาวชนที่กำลังจะเติบโตไปเป็นผู้ใหญ่ในอนาคตให้เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ในขณะที่โลกกำลังเผชิญวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมและสภาวะอากาศแปรปรวนเช่นทุกวันนี้ จำเป็นหรือยังที่เด็กควรได้รับการปลูกฝังความรู้ความเข้าใจเรื่องความเป็นเหตุเป็นผล (cause and effect) กับธรรมชาติที่พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งและอาศัยพึ่งพิง

เราต่างรู้ว่าอัตลักษณ์ นิสัย ศักยภาพที่เรามีและหยิบใช้ทุกวันนี้ มาจากการสร้างคุณลักษณะในวัยเด็ก ‘การเล่น’ คือหนึ่งในวิธีการเหล่านั้น รายงานวิจัยหลายชิ้นยืนยันเป็นเสียงเดียวกัน เวลาของเด็กในการ ‘เล่น’ ซึ่งหมายความถึงการออกไปใช้ร่างกาย สัมผัส รับกลิ่น ได้คิด ค้นหา ออกไปอยู่กับระบบนิเวศที่ท้าทายระบบรับสัมผัสร่างกายทั้งห้านั้น ลดน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญ สิ่งที่เข้ามาแทนคือ การเล่นกับเทคโนโลยี (สมาร์ทโฟน, สื่อออนไลน์) และ เวลาที่ต้องใช้อยู่ในห้องเรียน

น้องๆ เคยสงสัยกันบ้างมั้ยคะว่า ทำไมมหาลัยบางที่ถึงเรียกนักศึกษาว่านิสิต บางที่ก็เรียกนักศึกษา วันนี้แคมปัสสตาร์มีเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องนี้มาไขข้อสงสัยให้น้องๆ กันค่ะ ไปดูกันว่าประวัติความเป็นมาของคำว่า นิสิต และนักศึกษา จริงๆ แล้วต่างกันหรือไม่ มหาลัยไหนบ้างที่ใช้คำเรียกนักศึกษาว่านิสิตบ้าง?

คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เป็นสิ่งที่เราสามารถเจอกันได้ทุกที ไม่ว่าจะเป็นในชีวิประจำวัน การทำงาน หรือการเรียนก็ตาม และในบทความนี้ แคมปัส-สตาร์ ก็ได้รวบรวมคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่น่าสนใจเกี่ยวกับคำว่า “ข่าว” มาฝากกันด้วยค่ะ

การฝึกเป็นคนคิดบวกให้เป็นนิสัยประจำตัวและมีชีวิตที่เป็นสุข อาจไม่ใช่เรื่องง่ายๆ ที่ทำกันได้เร็วนัก แต่เมื่อเราทำสำเร็จจะพบว่าสุขภาพใจจะแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันพิเศษช่วยต้านทานแรงกดดัน ความเครียด ความทุกข์ใจซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพกายด้วยเช่นกัน You are what you think… คุณเป็นดังที่คุณคิด เลือกดูว่าจะคิดบวกเพื่อสร้างความสุข สนุกในชีวิต หรือจะคิดลบเพื่อสร้างความทุกข์ หมกมุ่นแต่เรื่องไม่สบายใจ

เคยไหมครับ? ชอบเขาแต่เขาไม่ชอบเรา ชอบแล้วก็เลิ่กลั่กไม่รู้จะทำตัวยังไง ถามเพื่อน เพื่อนก็ไม่ได้รู้ดีไปกว่าเรา ถามผู้ใหญ่ เขาก็ยิ้มขำ ถามกูรูก็เห็นๆ อยู่ว่าเราไม่ได้รูปร่างหน้าตาบุคลิกดีแบบเขา สุดท้ายก็ได้แต่ทอดถอนใจว่าเราคงต้องชวดรักอกหักอีกแล้ว

หลังเกิดเหตุกราดยิงไปเมื่อช่วงปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา นอกจากประเด็นเรื่องการเยียวยาผู้ประสบเหตุ รวมถึงข้อเรียกร้องในการปฏิรูปกองทัพ และระบบจัดเก็บอาวุธยุทโธปกรณ์ที่หละหลวมแล้ว คำถามสำคัญที่ตามมาอีกอย่างก็คือ หากเกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ขึ้นอีก ประเทศไทยมีแผนสำรองเพื่อเตรียมตัวสำหรับเหตุการณ์วิกฤตอย่างไรบ้าง

แพทยศาสตร์ หรือมีชื่อเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Medicine เป็นสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพที่มีความเกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพ การรักษาอาการเจ็บป่วย หรือการรักษาโรคต่าง ๆ ซึ่งถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งสาขาวิชาที่เรียนยาก และจะต้องมีความขยัน อดทน ในการเรียนสูงเลยทีเดียว เพราะแพทย์ที่จบออกมาจะต้องใช้ความรู้และทักษะความสามารถในการดูแลผู้ป่วยให้หายจากอาการเจ็บป่วยหรือโรคต่าง ๆ

จริงๆ แล้วทักษะแห่งอนาคตมีเสาหลักสองเรื่องสำคัญคือ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ และ ทักษะการใช้เทคโนโลยี อ้างอิงข้อมูลจากงานวิจัย World Economic Forum ( https://bit.ly/2L2QXwt ) ซึ่งผลการศึกษาได้สรุปทักษะที่จำเป็นเพื่อเตรียมพร้อมตัวเองสู่โลกการทำงานในอนาคต หากฝึกปรือทักษะสองเรื่องนี้ให้เป็นคุณลักษณะเด่นของตัวเองได้ ไม่ว่าคุณจะเรียนอะไรในตอนนี้ก็กล่าวได้ว่าคุณจะไม่มีวันตกยุค

U.S. News & World Report (www.usnews.com) เว็บไซต์การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก ผ่านข้อมูลเชิงลึกจาก 1,500 สถาบันการศึกษาชั้นนำจากทั่วโลกที่กระจายอยู่ใน 81 ประเทศ ได้ประกาศผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดของโลก ประจำปี 2020 หรือ Best Global Universities Rankings 2020 ออกมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

การที่นักเรียนรู้สึกว่าได้รับความเอาใจใส่ รับฟัง ความเห็นอกเห็นใจจากครู นักเรียนจะรู้สึกอบอุ่นและมีกำลังใจที่จะเรียน บันทึกที่ 1 ของชุดความคิดว่าด้วยความสัมพันธ์กับศิษย์ (relational mindset) จะพูดถึงวิธีการแสดงออกถึงความใส่ใจของครูที่มีต่อนักเรียน เช่น การจำชื่อ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปฏิสัมพันธ์ที่ดีในชั้นเรียนช่วยยกระดับการเรียนรู้ ทั้งระหว่างนักเรียนกับครู และระหว่างเพื่อนนักเรียนด้วยกัน ครูต้องมีวิธีสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวก เพื่อสร้างความคุ้นเคย ความเคารพนับถือ และความไว้เนื้อเชื่อใจต่อกันและกัน

คงเป็นช่วงที่บัณฑิตจบใหม่หลายคนกำลังประสบปัญหากับความรู้สึก ‘เคว้ง’ เพราะในขณะที่เพื่อนคนอื่นๆ มีงานทำกันไปหมดแล้ว แต่เรายังต้องการเวลาอีกสักปีสองปีเพื่อค้นหาความชอบของตัวเองอยู่เลย การมี ‘แกปเยียร์’ (gap year) หรือช่วงเวลาพักผ่อนหลังเรียนจบ ทำไมถึงทำให้รู้สึกกดดันได้ถึงขนาดนี้กันนะ?

มาดูกันว่าอาชีพในฝันของเด็กยุค 4.0 นั้นมีอาชีพไหนกันบ้าง และเด็กยุคนี้สนใจอาชีพไหนเป็นพิเศษกัน

สำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จากการศึกษาแผนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เปรียบเทียบกับการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 20 นั้นมีความแตกต่างกัน เพราะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้คนลดการเรียนรู้ทางด้านวิชาการลงแต่ไปเพิ่มการพัฒนาทักษะต่างๆ ให้มากขึ้น ทั้งทักษะในด้านการใช้ชีวิต ทักษะการคิด และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ซึ่งสอดคล้องและสัมพันธ์กับสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2551 จำนวน 5 ด้าน ดังนี้

การศึกษาในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก เป็นการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความสามารถและ พัฒนาศักยภาพของตน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพของตน ตามความสนใจ โดยไม่มีข้อจำกัด ด้านเวลาและสถานที่ อีกทั้งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ได้

การเหยียด การกลั่นแกล้ง การล้อเลียนกันไม่ใช่เรื่องเล็กๆ เพราะมันคือชนวนเหตุของความรุนแรง ความก้าวร้าว และร้ายแรงที่สุดคือ 'ความสูญเสีย' จากกรณีที่เด็ก ม.1 ยิงเพื่อนนักเรียนด้วยกันเพราะถูกล้อว่าเป็นตุ๊ด หรือเด็ก ป.5 ที่ถูกเพื่อนๆ เหยียด จึงต้องหนีไปผูกคอตายในห้องน้ำโรงเรียน และอีกหลายๆเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งในชีวิตจริงและโลกออนไลน์ ต่างได้สร้างบาดแผลและความบอบช้ำจิตใจให้กับผู้ที่โดนกระทำ ซึ่งนำไปสู่ความเครียด ความก้าวร้าว ความรุนแรง โรคซึมเศร้า หรือหากโดนกดดันหนักเข้า ก็นำไปสู่การแก้แค้นหรือฆ่าตัวตาย

งานวิจัยแสดงให้เห็นว่าการเรียนรู้ของเด็กขึ้นอยู่กับปัจจัยหลักๆ คือ สภาพแวดล้อมต่างๆ รอบตัว, ผู้คนที่เด็กอยู่ด้วยใกล้ชิด (พ่อแม่, ผู้ปกครอง, ครู), วิธีการเลี้ยงดู, และสถานที่เด็กอยู่ เด็กที่เรียนสองภาษา (Bilingual Child) ก่อนอายุ 5 ขวบ จะมีโครงสร้างสมองที่มีพัฒนาการ ในการคิดไตร่ตรอง ดีกว่า ซึ่งแตกต่างจากเด็กที่เรียนเพียงภาษาเดียว

เรามักจะได้เห็นผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกกันเป็นประจำทุกปีในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านคุณภาพของการเรียนการสอน การถูกตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ และการเข้าถึงเว็บไซต์ของสถาบันการศึกษา เป็นต้น

เจนเนอเรชั่นอัลฟ่า (Generation Alpha) คือคำเรียกเด็กที่เกิดตั้งแต่ปี 2010 หรือ พ.ศ.2553 เป็นต้นไป พวกเขาเติบโตมาในยุคเทคโนโลยีก้าวหน้า สังคมขับเคลื่อนอย่างรวดเร็ว แรง และขนาดใหญ่ ซึ่งการเติบโตท่ามกลางโลกที่หมุนเร็วของเด็กเจนฯ นี้ คงไม่อาจสรุปได้ว่าพวกเขาล้วนเป็นเลิศเพียงด้านเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว เพราะเด็กเจนฯ นี้ต่างมีลักษณะเฉพาะตัวทั้งที่ควรสนับสนุนและควรเป็นห่วง

จากการรายงานผลของโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment) หรือ PISA 2018 ล่าสุด เผยว่าเด็กนักเรียนในประเทศฟินแลนด์สอบได้คะแนนสูงสุดใน 3 วิชาสอบ