บทความ

นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า ยิ่งโลกพัฒนา โลกเทคโนโลยี ครูยิ่งจำเป็น จะสอนให้เด็กเป็นคนดี สื่อสารดี ความลึกซึ้ง จิตวิญญาณ ออนไลน์ทำไม่ได้ ขณะที่ เปรมปพัทธ ผลิตผลการพิมพ์ Director of Newground มองว่า ครูผู้สอนต้องก้าวพ้นจากกรอบเดิมๆ ซึ่งมีผลการศึกษาถึงวิธีการก้าวหลุดพ้นจากกรอบเดิมๆ เพื่อให้ทันเทคโนโลยียุคดิจิทัลของครูผู้สอน คือ 1.บุคลากรในระบบเก่าต้องเรียนรู้พัฒนาทักษะใหม่ต่อยอดจากทักษะเดิม (Re-skills) เพื่อให้รู้เท่าทันวิวัฒนาการเทคโนโลยีที่ทันสมัยอยู่ตลอด เรามาดูกันว่า “ครู” ในยุคนี้้ต้องปรับตัวกันอย่างไร

เรามักจะได้เห็นผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกกันเป็นประจำทุกปีในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านคุณภาพของการเรียนการสอน การถูกตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการ และการเข้าถึงเว็บไซต์ของสถาบันการศึกษา เป็นต้น

เจนเนอเรชั่นอัลฟ่า (Generation Alpha) คือคำเรียกเด็กที่เกิดตั้งแต่ปี 2010 หรือ พ.ศ.2553 เป็นต้นไป พวกเขาเติบโตมาในยุคเทคโนโลยีก้าวหน้า สังคมขับเคลื่อนอย่างรวดเร็ว แรง และขนาดใหญ่ ซึ่งการเติบโตท่ามกลางโลกที่หมุนเร็วของเด็กเจนฯ นี้ คงไม่อาจสรุปได้ว่าพวกเขาล้วนเป็นเลิศเพียงด้านเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว เพราะเด็กเจนฯ นี้ต่างมีลักษณะเฉพาะตัวทั้งที่ควรสนับสนุนและควรเป็นห่วง

"หมดสมัยแล้วกับระบบการศึกษาที่มุ่งสอนเพื่อมอบความรู้ในโลกยุคไอที เด็กยุคใหม่ต้องรู้ว่าจะเป็นอะไร รู้จักกำหนดเป้าหมายของตัวเองและไปให้ถึงเป้าหมาย โดยไม่วอกแวก"

“Thailand 4.0” เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายของรัฐบาลไทยที่ใช้ในการผลักดันเพื่อให้ประเทศไทยก้าวพ้นกับดักรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำของรายได้หรือฐานะ และแก้ปัญหาการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน ด้วยรูปแบบการ ‘ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม’ เนื่องจากที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยยังติดอยู่กับโมเดลทำมากได้น้อย จึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนโมเดลมาเป็นทำน้อยได้มาก ซึ่งการลงมือทำน้อยๆ แต่ได้ผลตอบแทนมหาศาลนั้น ประเทศไทยจะต้องเปลี่ยนแนวคิดจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยอุตสาหกรรมเป็นการขับเคลื่อนประเทศด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และการนำนวัตกรรมเข้ามาช่วย เปลี่ยนจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้านวัตกรรม รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาช่วยในภาคการเงิน การบริหารจัดการและการบริการ มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน การค้า อุตสาหกรรม การเกษตร ธนาคาร ประชาชน ชุมชน จังหวัด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัยต่างๆ ควบคู่ไปกับการส่งเสริม SMEs และ Startup เพื่อให้ทุกภาคส่วนขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน สู่เป้าหมาย “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”

จากการรายงานผลของโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment) หรือ PISA 2018 ล่าสุด เผยว่าเด็กนักเรียนในประเทศฟินแลนด์สอบได้คะแนนสูงสุดใน 3 วิชาสอบ

แม้คนทำงาน 1 คนควรจะมี “ฮาร์ด สกิล” (Hard Skills) ซึ่งเป็นทักษะที่จะทำให้มีความเชี่ยวชาญในตำแหน่งงานหรืออาชีพนั้น แต่ทักษะสายงานตรงอย่างเดียวอาจจะไม่เพียงพอต่อการทำงานในวันนี้ ที่หลายบริษัทต้องการความสามารถที่หลากหลาย มาทำงานรวมกันร่วมกัน

ต้องยอมรับเลยว่า ในปัจจุบันเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันและการทำงานของเราเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นส่งผลทำให้สถาบันการศึกษาต่างๆ หันมาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตรงต่อความต้องการของตลาดแรงงาน

แม้ทุกวันนี้ผู้ใหญ่มักจะพูดว่า ‘เกรดจะไม่ใช่ทุกอย่างของชีวิต’ แต่ในความเป็นจริงแล้ว หากมองลงไปในระบบการศึกษาดีๆ จะเห็นว่าผู้ใหญ่หลายคนยังให้ความสำคัญกับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษามากที่สุด โดยเฉพาะในโรงเรียน เมื่อเกรดกลายเป็นเครื่องมือแสดงระบบชนชั้นในโรงเรียนและสร้างค่านิยมแบบผิดๆ อย่างไม่ได้ตั้งใจว่า

คนทำงานอย่างท่านอย่างผม ปัจจุบันก็มีทั้งหัวหน้าและลูกน้อง หรืออย่างน้อยก็จะผ่านชีวิตของการเป็นลูกน้องมาบ้างเมื่อครั้งอายุยังเยาว์ เว้นไว้แต่ลูกเจ้าของบริษัทที่เรียนจบมาก็มาทำงานในองค์การเลย จะเป็นลูกน้องก็แต่กับพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ของตัวเองเท่านั้น (แต่ก็เป็นลูกน้องที่มีอำนาจและพลังอย่างมาก)

ในชีวิตของคนเราต้องพบเจอกับผู้คนมากมายหลายประเภท บางคนคอยช่วยเหลือเกื้อกูล ส่งเสริม และสนับสนุนให้เราทำสิ่งต่างๆให้สำเร็จ ในทางตรงกันข้าม บางคนคอยกลั่นแกล้ง ขัดขวาง เอาเปรียบ ใส่ร้ายป้ายสี มองโลกในแง่ลบ และทำให้เราหมดกำลังใจที่จะไล่ตามความฝัน ซึ่งเราให้คำนิยามกับคนประเภทนี้ว่าเป็น “มนุษย์เจ้าปัญหา”

ปัจจุบัน คนเราใช้เวลาในที่ทำงานมากกว่าพักผ่อนอยู่ที่บ้านเสียอีก ดังนั้น หากออฟฟิศมีลักษณะและบรรยากาศที่เหมาะสมย่อมสร้างสุขให้แก่พนักงาน ซึ่งจะนำไปสู่ผลงานที่มีประสิทธิภาพนั่นเอง วันนี้ขอนำเสนอ 10 วิธีปรับออฟฟิศเพื่อสร้างความสุขในการทำงาน มาฝาก

สิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรกคือ กำหนดว่าจะทำอะไรให้กลายเป็น ความเชี่ยวชาญ เฉพาะทางของตน น่ากลัวว่าคงมีหลายคนที่สับสนมากใช่ไหม ผมคิดว่าเงื่อนไขในการเลือกมีหลายข้อ

มีหลายคนที่เรียกร้องหาแต่ ” งานที่เป็นตัวของตัวเองที่สุด “ มากจนเกินไป จนทำให้ดูเหมือนไม่มีความสุขในชีวิต บางคนถึงกับเก็บตัวซึมเศร้า เพราะสิ่งที่ได้รับมอบหมายไม่ใช่งานที่ชอบ หรือไม่ก็ต้องเปลี่ยนงานซ้ำแล้วซ้ำเล่า เพราะยังค้นหา “สิ่งที่ตนอยากทำ” ไม่เจอสักที

การศึกษาชิ้นใหม่ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Clinical Psychological Science ชี้ให้เห็นว่าเวลาที่กลุ่มวัยรุ่นใช้ไปกับโทรศัพท์มือถือและทางออนไลน์นั้นไม่ได้เลวร้ายอย่างที่คิด

คุณรู้สึกว่าตัวเองไร้ค่า ไม่เก่งจริง ขี้โกง หลอกลวงโลกหรือไม่? แท้จริงแล้วคุณไม่ได้โดดเดี่ยว เป็นโรคนี้เพียงคนเดียว และนี่คือสิ่งที่คุณสามารถทำได้ คุณเคยมีความรู้สึกว่าถูกขอให้ทำสิ่งที่คุณไม่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมหรือไม่และมันเป็นเรื่องที่คิดไปก่อนที่ทุกคนจะตระหนักถึง? และยิ่งคุณประสบความสำเร็จในอาชีพหรือเป็นระดับมืออาชีพมากเท่าไหร่ คุณก็ยิ่งกลัวว่าผู้คนจะค้นพบว่าจริงๆ แล้วคุณกำลังพูดถึงอะไร? เป็นจริงหรือมายา หรือบางทีคุณอาจเชื่อว่าความสำเร็จของคุณนั้นขึ้นอยู่กับโชค ช่วงจังหวะเวลาที่แสนวิเศษ หรือแม้แต่การคิดว่าเป็นการหลอกลวงให้ผู้อื่นให้มาในจุดที่คุณอยู่ ความกลัวนี้เรียกว่า "โรคคิดว่าตัวเองไม่เก่ง” (imposter syndrome) หรือตัวเองไร้ค่า คนที่มีอาการของโรคคิดว่าตัวเองไม่เก่ง (imposter syndrome)